Solar wind effect : กรณีผลกระทบจากพายุสุริยะ
Solar wind effect : กรณีผลกระทบจากพายุสุริยะ |
| ||
สนามแม่เหล็กโลกปกป้องเรา ขณะพายุสุริยะพัดเข้ามา |
พายุสุริยะ ลักษณะเป็นเปลวไฟขนาดใหญ่พัดปะทะโลกอย่างรุนแรง แล้วผ่านไปถึงดาวพฤหัสได้ |
| ||
มหาสมุทรเป็นบริเวณสะสมและถ่ายทอดรังสี ภูเขาน้ำแข็งจากขั้วโลกเหนือลอยสู่มหาสุมทร ด้านขั้วโลกใต้ จากสภาวะโลกร้อน (เฮลิคอปเตอร์กลุ่มกรีนพีซ บินสำรวจเทียบกับภูเขาน้ำแข็ง) |
อุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทร (สีส้ม สีเหลือง) มีความร้อนสูงในพื้นที่วงกว้างมาก |
| ||
แสดงการตรวจความเร็ว พายุสุริยะค่าความเร็ว เป็น Km/s โดยสถาบัน SOHO |
| ||
| ||
| ||
แสงออรอร่าเกิดจากอนุภาคมากับ พายุสุริยะ |
| ||
ความเป็นไปได้ : แน่นอนที่สุดมีการเกิดทุกๆ 11 ปี เพียงระยะสั้นๆ หากยังลดปัญหาสภาวะปฏิกิริยา เรือนกระจกไม่ได้ผล จะเป็นการเร่งโอกาสเกิดแบบถาวรและรุนแรง มีแนวโน้มสูง ขึ้นตามลำดับ ในระยะ 1,000 - 2,000 ปี ประการแรกมนุษย์จะประสบปัญหาในการสื่อสารต่างๆทำให้โลกชะงักไปแล้ว อันดับต่อมา ห่วงโซ่ระบบต่างๆของมนุษย์และสัตว์เกิดปัญหาใหญ่ด้วยการสะสม รังสีในระบบร่างกายที่ได้รับจาก น้ำ อาหาร โรคชนิดใหม่อาจเกิดขึ้น เช่น ภูมิแพ้ รังสี ภูมิแพ้แสงดวงอาทิตย์ ปัจจัยที่ยิ่งใหญ่คือ ผลกระทบต่อสนามแม่เหล็กโลก เชื่อว่ามีความเป็นไปได้ของ การส่งผลสลับทิศทางขั้วโลก สถิติโลกสลับขั้วเฉลี่ยจะเกิดทุก 600,000 ปี จากโลกกำเนิดมาแล้ว 4.6 พันล้านปี การสลับขั้วโลกครั้งล่าสุดผ่านมาแล้วประมาณ 200,000 ปี การเกิดโลกร้อนมี การละลายของน้ำแข็งขั้วโลก กับเกิดปฏิกิริยาเรือนกระจกสภาพอากาศโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก จะทำให้โลกมีปัญหาการหมุนรอบ ตัวเองช้าจากปริมาณน้ำเพิ่มขึ้น ตามแนวถ่วงของเส้นศูนย์สูตรเป็นองค์ประกอบ เชื่อมโยงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไปสู่ระบบสนามแม่เหล็กโลกให้อ่อนแอลงไปอีก เป็นผลให้การต่อต้านพายุสุริยะ ไม่สมบูรณ์ดังเดิมเหมือนอดีต การแก้ไขเหตุการณ์ : เร่งแก้ไขปฏิกิริยาเรือนกระจก ร่วมมือใช้ทรัพยากรโลกอย่างประหยัดตามความ จำเป็น ดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง หาวิธีต่อต้านรังสี จากพายุสุริยะด้วยวิธี พัฒนาการระบบของมุนษย์โดยหลักธรรมชาต ิอาจจะรอดพ้นวิกฤตดังกล่าวได้ มิฉะนั้นอนาคต ต้องใส่ชุดอวกาศทั้งที่อยู่บนโลก หรือต้องหยุดการเดินทางโดย เครื่องบินอย่างสิ้นเชิง เมื่อโลกในอนาคตมีฤดูพายุสุริยะเกิดขึ้น ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และสังคม : ปัจจุบันโครงการ Soho (จัดตั้งเมื่อปี 1995) เป็นความร่วมมือของ NASA - ESA (European Space Agency) ส่งยานอวกาศเฝ้าระวังและตรวจสภาพผลกระทบ ดวงอาทิตย์กับโลก โดยบันทึกรายงานความเร็ว ความหนาแน่นของพายุสุริยะที่ พัดผ่านตลอด 24 ชั่วโมง ทำการวิเคราะห์ผล ระยะยาวเพื่อเตรียมความพร้อม |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น